วัตถุประสงค์
จุดประสงค์สำคัญของการจัดให้มีการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศนี้ก็คือ 1. เพื่อเชื่อมความสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศเพื่อนบ้านทั้ง 6 ให้มีความกระชับสนิทสนมยิ่งขึ้น เพราะการกีฬาเป็น
สื่อสัมพันธไมตรีที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง
2. เพื่อจะได้ปรับปรุงกิจการกีฬา และเพาะนักกีฬาของเราให้ดียิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการประลองฝีมือกันแล้ว
ยังเป็นการกระตุ้นให้นักกีฬาตื่นตัวยิ่งขึ้น และมีโอกาสได้ตระเตรียมตัวเพื่อการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์และโอลิมปิคคราวต่อไปด้วย
ประเทศไทยเป็นประเทศภาคีสมาชิก หากไม่จัดส่งทีมไปแข่งขันเลยก็จะเป็นการขาดหายไปซึ่งเป็นสิ่งมิบังควร
ด้วยมูลเหตุดังกล่าวแล้ว คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้มีการประชุมปรึกษา
หารือกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2501 และลงมติให้พิจารณาวางโครงการ ได้ประชุมปรึกษาหารือกันหลายวาระ
ในที่สุดได้ตกลงที่จะให้มีการแข่งขันครั้งแรกขึ้น ให้ชื่อการแข่งขันในภาษาอังกฤษว่า "SOUTH EAST ASIA
PENINSULAR GAMES" และเรียกชื่อภาษาไทยว่า "การแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศภาคพื้นแหลมทอง" ซึ่งย่อเป็นภาษา
อังกฤษว่า "SEAP GAMES" และย่อเป็นภาษาไทยว่า "กีฬาแหลมทอง" ประเทศที่จะเข้าร่วมการแข่งขันครั้งที่ 1 ควรจะ
เป็นประเทศไทย พม่า มาลายา ลาว เวียดนาม และกัมพูชา รวม 6 ประเทศ ซึ่งอยู่บนภาคพื้นแหลมทอง (PENINSULAR)
แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (SOUTH EAST ASIA) ตามภูมิศาสตร์อย่างถูกต้องสื่อสัมพันธไมตรีที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง
2. เพื่อจะได้ปรับปรุงกิจการกีฬา และเพาะนักกีฬาของเราให้ดียิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการประลองฝีมือกันแล้ว
ยังเป็นการกระตุ้นให้นักกีฬาตื่นตัวยิ่งขึ้น และมีโอกาสได้ตระเตรียมตัวเพื่อการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์และโอลิมปิคคราวต่อไปด้วย
ประเทศไทยเป็นประเทศภาคีสมาชิก หากไม่จัดส่งทีมไปแข่งขันเลยก็จะเป็นการขาดหายไปซึ่งเป็นสิ่งมิบังควร
ด้วยมูลเหตุดังกล่าวแล้ว คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้มีการประชุมปรึกษา
หารือกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2501 และลงมติให้พิจารณาวางโครงการ ได้ประชุมปรึกษาหารือกันหลายวาระ
ในที่สุดได้ตกลงที่จะให้มีการแข่งขันครั้งแรกขึ้น ให้ชื่อการแข่งขันในภาษาอังกฤษว่า "SOUTH EAST ASIA
PENINSULAR GAMES" และเรียกชื่อภาษาไทยว่า "การแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศภาคพื้นแหลมทอง" ซึ่งย่อเป็นภาษา
อังกฤษว่า "SEAP GAMES" และย่อเป็นภาษาไทยว่า "กีฬาแหลมทอง" ประเทศที่จะเข้าร่วมการแข่งขันครั้งที่ 1 ควรจะ
เป็นประเทศไทย พม่า มาลายา ลาว เวียดนาม และกัมพูชา รวม 6 ประเทศ ซึ่งอยู่บนภาคพื้นแหลมทอง (PENINSULAR)
แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (SOUTH EAST ASIA) ตามภูมิศาสตร์อย่างถูกต้อง
สื่อสัมพันธไมตรีที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง
2. เพื่อจะได้ปรับปรุงกิจการกีฬา และเพาะนักกีฬาของเราให้ดียิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการประลองฝีมือกันแล้ว
ยังเป็นการกระตุ้นให้นักกีฬาตื่นตัวยิ่งขึ้น และมีโอกาสได้ตระเตรียมตัวเพื่อการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์และโอลิมปิคคราวต่อไปด้วย
ประเทศไทยเป็นประเทศภาคีสมาชิก หากไม่จัดส่งทีมไปแข่งขันเลยก็จะเป็นการขาดหายไปซึ่งเป็นสิ่งมิบังควร
ด้วยมูลเหตุดังกล่าวแล้ว คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้มีการประชุมปรึกษา
หารือกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2501 และลงมติให้พิจารณาวางโครงการ ได้ประชุมปรึกษาหารือกันหลายวาระ
ในที่สุดได้ตกลงที่จะให้มีการแข่งขันครั้งแรกขึ้น ให้ชื่อการแข่งขันในภาษาอังกฤษว่า "SOUTH EAST ASIA
PENINSULAR GAMES" และเรียกชื่อภาษาไทยว่า "การแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศภาคพื้นแหลมทอง" ซึ่งย่อเป็นภาษา
อังกฤษว่า "SEAP GAMES" และย่อเป็นภาษาไทยว่า "กีฬาแหลมทอง" ประเทศที่จะเข้าร่วมการแข่งขันครั้งที่ 1 ควรจะ
เป็นประเทศไทย พม่า มาลายา ลาว เวียดนาม และกัมพูชา รวม 6 ประเทศ ซึ่งอยู่บนภาคพื้นแหลมทอง (PENINSULAR)
แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (SOUTH EAST ASIA) ตามภูมิศาสตร์อย่างถูกต้อง
.jpg)
.jpg)